หลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2563)
: B.S. in Geography and Geoinformatics

ปรัชญา: มุ่งพัฒนาบัญฑิตให้เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ สามารถ บูรณาการองค์ความรู้ในการวางแผนพัฒนาพื้นที่ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสามารถสร้างนวัตกรรมทางวิชาการตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น

ชื่อหลักสูตร

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา

1) นักภูมิศาสตร์
2)นักภูมิสารสนเทศ
3) นักวิชาการแผนที่และภาพถ่าย
4) นักวิจัย
5) นักวางแผนจัดการเชิงพื้นที่
6) บุคลากรทางการศึกษาด้านภูมิศาสตร์

โครงสร้างหลักสูตร

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต
1) กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต
2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต
3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 9 หน่วยกิ
4) กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ 9 หน่วยกิต

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ไม่น้อยกว่า 100 หน่วยกิต
1) กลุ่มพื้นฐานวิชาชีพ 24 หน่วยกิต

  • ENG 1601 ภาษาอังกฤษสำหรับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(3-0-6)
  • ENG 1603 ภาษาอังกฤษเพื่อการทำงาน 3(3-0-6)
  • GEO 1101 แนวความคิดทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ 3(3-0-6)
  • GEO 1202 คณิตศาสตร์สำหรับนักภูมิศาสตร์ 3(3-0-6)
  • GEO 1301 ภูมิศาสตร์กายภาพ 3(3-0-6)
  • GEO 1401 ภูมิศาสตร์มนุษย์ 3(3-0-6)
  • STAT 2401 หลักสถิติ 3(3-0-6)
  • GEO 2301 ชีวภูมิศาสตร์ 3(3-0-6)

2) กลุ่มวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 76 หน่วยกิต

     2.1) บังคับ 45 หน่วยกิต

  • GEO 1501 ภูมิศาสตร์ประเทศไทยเชิงวิเคราะห์ 3(3-0-6)
  • GEO 1601 การอ่านและการแปลความหมายจากแผนที่ 3(2-2-5)
  • GEO 2101 เครื่องมือทางสังคมศาสตร์เพื่อการสำรวจชุมชน 3(2-2-5)
  • GEO 2601 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 1 3(2-2-5)
  • GEO 2701 การสำรวจภูมิประเทศ 3(2-2-5)
  • GEO 2702 การรับรู้จากระยะไกล 1 3(2-2-5)
  • GEO 2703 หลักการระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นผิวโลกด้วยดาวเทียม 3(2-2-5)
  • GEO 3102 ระเบียบวิธีวิจัยทางภูมิศาสตร์3(3-0-6)
  • GEO 3201 ภูมิสถิติ 3(2-2-5)
  • GEO 3301 ภูมิอากาศวิทยา 3(3-0-6)
  • GEO 3404 ภูมิศาสตร์เมือง 3(3-0-6)
  • GEO 3601 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2 3(2-2-5)
  • GEO 3605 การเขียนโปรแกรมประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(2-2-5)
  • GEO 3702 ดิจิทัลโฟโตแกรมเมตรี 3(2-2-5)
  • GEO 4901 การวิจัยทางภูมิศาสตร์และภูมิสารสนเทศ 3(250)

     2.2) เลือก ไม่น้อยกว่า 24 หน่วยกิต

  • GEO 2302 แผ่นดินไหววิทยาเบื้องต้น
  • GEO 2401 ภูมิศาสตร์ประชากร
  • GEO 2402 ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
  • GEO 2403 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
  • GEO 2501 ภูมิศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • GEO 2600 ภูมิสารสนเทศในชีวิตประจำวัน
  • GEO 2604 ภูมิสารสนเทศเพื่อการพัฒนาชุมชน
  • GEO 2700 โดรนเพื่อการสำรวจทางอากาศ
  • GEO 2704 การประมวลผลข้อมูลภาพดิจิทัล
  • GEO 3302 ธรณีสัณฐานวิทยา
  • GEO 3401 ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ
  • GEO 3402 ภูมิศาสตร์การเกษตร
  • GEO 3403 ภูมิศาสตร์การผจญภัย
  • GEO 3501 ภูมิศาสตร์ภูมิภาคโลก
  • GEO 3602 การออกแบบสื่อประสมและแผนที่ดิจิทัล
  • GEO 3603 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม
  • GEO 3608 การประยุกต์ภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผนและ การจัดการเชิงพื้นที่
  • GEO 3610 เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเครือข่าย
  • GEO 3701 การรับรู้จากระยะไกล 2
  • GEO 4301 อุทกภูมิศาสตร์
  • GEO 4401 ภูมิศาสตร์การขนส่ง
  • GEO 4402 ภูมิศาสตร์การวางผังเมือง
  • GEO 4601 ภูมิสารสนเทศเพื่อการจัดการภัยพิบัติธรรมชาติ

     2.3) ประสบการณ์ภาคสนาม 7 หน่วยกิต
             ให้เลือกแผนใดแผนหนึ่ง ดังนี้
             2.3.1) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
                        2.3.1.1) การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 1 หน่วยกิต
                        2.3.1.2) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 6 หน่วยกิต
            2.3.2) สหกิจศึกษา
                       2.3.2.1) การเตรียมสหกิจศึกษา 1 หน่วยกิต
                       2.3.2.2) สหกิจศึกษา 6 หน่วยกิต

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต

รับสมัครนักศึกษาใหม่

ผ่านระบบ TCAS รอบ PORTFOLIO, โควต้า, รับตรง สนใจ กรอกรายละเอียดแบบฟอร์มนี้ ONLINE